จิตวิญญาณ



กาย และ จิต ทำงานประสานกัน อย่างดี

             กาย ประกอบจาก ธาตุทั้ง 4  ดิน น้ำ ไฟ ลม

           จิต  อันอาศัย กาย แล้วเกิดขึ้น จากอำนาจกรรม ที่ทำไว้ดีแล้วในการก่อน




กาย จึง แทนด้วยแผ่น ภาพ รูป 28
มี 2 ส่่วน คือ  นิปผันนรูป18   อนิปผันนรูป 10

          นิปผันนรูป18     รูปนี้เกิดจากรรม   มีอาหารหล่อเลี้อง  มีชีวิตรูปรักษาไว้ตลอดชีวติเรา       อุตุต้องเหมาะสมกับการดำรงชีวิต
                    
            อนิปผันนรูป 10  อาศัย นิปผันนรูป18   เกิดขึ้นอีกที  เช่น การเคลื่อนไหวกาย พูด



จิต และ เจตสิก แทน นาม  หรือ เข้าใจว่าเป็นเราท่าน
จิต เกิด ทีละดวง   เป็นประธาน ตามอำนาจ ความปราถนาของเรา 
เจตสิก  เกิด อย่างตำ 7 และ มากกว่า ตามอารมณ์ของจติ ว่าจะประกอบได้อีก

เช่น จิต คือราชา มีเพียง 1     และ เจสติก คือ อมาตย 7  บริวารอื่นๆ ตามแต่ ราชาชอบ

ตัวอย่าง.    จิตฝาย อกุศลจิต 1    เจตสิก อมาตย 7 (ตลอดทุกดวง) และ พวก อกุศลเจตสิก 12 เป็นต้น





รูปนี้เรียกว่า สงห์เคราะ  จับกันเข้าเป็นกลุ่มและมีแบบแผ่น
จิต และ เจตสิก  ว่าอัน ไหน เข้ากับอันไหนได้บ้าง



ขันธ์ 5 อยาตนะ 12  สัจจะ4 ( นิวรณ์ 5 ,โพชญงค์ 7)







นิวรณ์ 5 ( ธ.ที่เป็นปรปักษ์ต่อองค์ฌาณ )




    โพชฌงค์ 7






                33 นัย ยกจิต                   ถ้าทำเป็นตราง จะออกมาเหมืนกัน





จิต เกิดได้ ทีละ 1 ดวง   เหมือนดังราชา มีเพียงองค์เดียว
เจตสิก ที่ประกอบกับจิต    เหมือน บริวาร  ทานชอบแบบไหน บริวารก็เป็นแบบนั้น มีได้หลาย ดวง เจตสิก


เช่น วิรตี 3  นับแบบนี้  อัญ13 + โสภณเจตสิก 19 + ปัญญา + วิรตี2(-ตัวเอง)  =  13+19+1+2 = 35



จากการศึกษา มาทั้งหมด

ทุกข์กำหนด รู้ สภาพทนอยู่ไม่ได้    นับ จิต 89  เจตสิก 51( -โลภ ) รูป 28 บัญญัติ

สมุทัย เหตุแห่งทุก โลภะเจตสิก ความอยาก  ในใจเรา คือ สิ่งที่บอกว่าควรละ   ---> ละอย่างไรละ ?

นิโรธ ทำให้แจ้ง

มรรคความเจริญ  มีทั้ง มรรค8   มีทั้ง มรรค9

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
วิปัสสนาสติปัฎฐาน 4   ( กาย , เวททนา , จิต , ธรรม)

1. พิจารณากาย   ลมหายใจเข้าออก1 , อริยาบท4 , สัมปชัญญะ7 , ธาตุ 4 , ปฎิกูล(อาการ32) ---> เห็นทุกข์ (รูป28)

2. พิจารณาเวทนา สุข , ทุกข์ , อุเบกขา --> มีอามิส และ ---> ไม่มีอามิส(กิเลส,สิ่งล่อ) ----> 1.เวทนาเจตสิก (สาธารณะ7)     2.ประกอบในจิต โส , อุ , โท2 , สุข1 , ทุกข์1       ---> เห็นทุกข์ ของนาม (เจตสิก)

3. พิจารณาจิต  โล , โม , โท  ไม่มี(โล,โม,โท) , หดหู(ถีนะ) ,ฟุ้งซ่าน(มิทธะ) ---> เห็นทุกข์ ของจิต

4. พิจารณาธรรม  ขันธ์  5          รูป1 +นาม 4    
                            นิวรณ์ 5          กิเลส 5 ตัว 
                             อายตนะ 12         เครื่องต่อ ภายใน6 + ภายนอก6
                            โพชฌงค์ 7           องค์แห่งการตรัสรู้
                             สัจจะ 4               สัจจะทั้ง 4 ประการ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น